ข้อมูล

จิตตรี พละกุล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิตตรี พละกุล
JITTREE PALAKUL
ประวัติการศึกษา
    ปริญญาตรี
        1. กศ.บ. สาขาวิชาเคมี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2547
        2. ส.บ. (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มสธ. 2555

    บัณฑิตศึกษา
      ปริญญาโท
          - วท.ม. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553

รางวัลเชิดชูเกียรติ (AWARDS OF HONOR)
    -
ความเชียวชาญ (FIELDS OF EXPERTISE)
    -
ผลงานทางวิชาการ (ACADEMIC PUBLICATION)
    1) เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน (TEACHING PUBLICATION)/ตำรา (textbook)
            [1] จิตตรี จิตแจ้ง. (ตุลาคม 2560). การสอนเคมี. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 1084006 การสอนเคมี, ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.(อัดสำเนา).
    2) รายงานการวิจัย (RESEARCH REPORT)
            [1] ความสามารถในการคิดแบบมีวิจารณญาณของนักศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์  แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
    3) บทความวิจัย (RESEARCH ARTICLE) / บทความวิชาการ (ACADEMIC ARTICLE)
            [1] Pongpiachan S., Kositanont C., Palakun J., Liu S., Ho K.F., Cao J. (2015). Effects of day-of-week trends and vehicle types on PM2.5-bounded carbonaceous compositions. Science of the Total Environment. 532: 484-494.
            [2] Pongpiachan S., Liu S., Huang R., Zhao Z., Palakun J., Kositanont C., Cao J. (2017). Variation in Day-of-Week and Seasonal Concentrations of Atmospheric PM2.5-Bound Metals and Associated Health Risks in Bangkok, Thailand. Archives of Environmental Contamination and Toxicology. 72(3): 364-379.
            [3] Pongpiachan S., et.al. (2019). Vertical profile of organic and elemental carbon in sediments of Songkhla Lake, Thailand. Limnology. 20: 203-214.
            [4] Li Xing et.al. (2020). Quantifying the contributions of local emissions and regional transport to elemental carbon in Thailand. Environmental Pollution. 262: 1-8.
            [5] Chomsri ChooChuay et.al. (2020). Impacts of PM2.5 sources on variations in particulate chemical compounds in ambient air of Bangkok, Thailand. Atmospheric Pollution Research. 11: 1657-1667.
            [6] Chomsri ChooChuay et.al. (2020). Long-range Transboundary Atmospheric Transport of Polycyclic Aromatic Hydrocarbons, Carbonaceous Compositions, and Water-soluble Ionic Species in Southern Thailand. Aerosol and Air Quality Research. 20: 1591-1606.
            [7] จิตตรี พละกุล และ เมษา นวลศรี. (2561). การวิเคราะห์องค์ประกอบพฤติกรรมความเป็นพลเมืองที่ มีความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น: กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาคกลาง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. ที่ 14 ฉบับที่ 1. มกราคม-มิถุนายน 2561: 1-22.
            [8] จิตตรี จิตแจ้ง และจิตเจริญ ศรขวัญ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อเจตคติวิชาชีพครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 13(1): 23-36.
            [9] สายนภา วงศ์วิศาลและจิตตรี พละกุล. (2563). ความสามารถในการคิดแบบมีวิจารณญาณของนักศึกษา คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 14(1): 190-206.
            [10] อาพิศรา ดวงธนู และจิตตรี พละกุล. (2563). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสมบัติทางกายภาพของวัสดุสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนชลประทานอนุเคราะห์ อําเภอวังนอย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 6(3): 1111-123.
            [11] มนูญ มนูขจร, อนัญญา โพธิ์ประดิษฐ์, สุนทรีย์ จีนธรรม, ยุทธนา นาคหกวิค, เจษฎานันท์ เวียงนนท์ และจิตตรี พละกุล. (2563). ปัจจัยสำคัญในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยิ่งยืน ในจังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ. 13(2) (พฤษภาคม-สิงหาคม): 581-589.
            [12] ธีรพงษ์ เทศชวน และ จิตตรี พละกุล. (2564). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น เรื่อง การแยกสาร สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 15(2): 95-108.
            [13] จิตตรี พละกุล. (2565). การศึกษาความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์เรื่อง งานและพลังงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกับการสร้างคำอธิบาย ทางวิทยาศาสตร์. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์. 12(2), 75- 89.
            [14] เชษฐา ทรัพย์เย็น, จิตเจริญ ศรขวัญ และจิตตรี พละกุล. (2567). การรับรู้ระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์. 24(2), 15- 30.
    4) รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ (PROCEEDING)
            [1] จิตตรี พละกุล. (2564). การศึกษามโนทัศน์ เรื่อง งานและพลังงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการ เรียนรู้ 7 ชั้น ร่วมกับแผงผังมโนทัศน์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุม วิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 5 วันที่ 7-9 กรกฎาคม 2564. กรุงเทพฯ.

email
    ยังไม่มีข้อมูลแสดง