
รองศาสตราจารย์ ดร.เมษา นวลศรี
Assoc. Prof. Dr. Mesa Nuansri ประวัติการศึกษา
- ปริญญาตรี
1. ค.บ. เกียรตินิยม (ชีววิทยาและวิทยาศาสตร์ทั่วไป) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2549
2. ร.บ. (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการเมืองการปกครองเปรียบเทียบ) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2552
3. ศษ.บ. (การวัดและประเมินผลทางการศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2555
4. ศศ.บ. (ไทยคดีศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2558
5. ศศ.บ. (การพัฒนาเด็กปฐมวัย) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2565
6. ศศ.บ. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (กำลังศึกษา)
บัณฑิตศึกษา
- ปริญญาโท
- ค.ม. (วิจัยการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551
ปริญญาเอก
- ค.ด. (การวัดและประเมินผลการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2560
รางวัลเชิดชูเกียรติ (AWARDS OF HONOR)
- 1. รางวัลดีเด่น การนำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยาย (Oral Presentation) ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “นวัตกรรม การจัดการ : การขับเคลื่อนธุรกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจดิจิทัล” Driving Community Business to Digital Economy จัดโดย วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้ไว้ ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2561
2. รางวัลนิสิตดีเด่น ด้านคุณลักษณะความเป็นครู (ระดับดุษฎีบัณฑิต) คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี 2559
3. รางวัลการวิจัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ประเภทงานวิจัยดีเด่น สำหรับนิสิตปริญญาเอก สาขาสังคมศาสตร์ ประจำปี 2560 โดยได้รับพระราชทานกิตติบัตรจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
4. รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี 2561
5. รางวัลนักวิจัยดีเด่น ด้านการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี 2563
6. รางวัลนักวิจัยดีเด่น ด้านการตีพิมพ์เผยแพร่ (เหรียญเงิน) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี 2565
ความเชียวชาญ (FIELDS OF EXPERTISE)
- 1. การวัดและประเมินผลทางการศึกษา
2. การวิจัยทางการศึกษา
3. การวิจัยในชั้นเรียน
4. สถิติทางการศึกษา
5. การจัดการเรียนรู้
ผลงานทางวิชาการ (ACADEMIC PUBLICATION)
1) เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน (TEACHING PUBLICATION)/ตำรา (textbook)
[1] เมษา นวลศรี. (2556). การประเมินผลการเรียนรู้. คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (268 หน้า)
[2] เมษา นวลศรี. (2563). การวัดและประเมินผลการเรียนรู้. คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (380 หน้า)
[3] เมษา นวลศรี. (2564). หน่วยที่ 10 การเขียนข้อสอบตามแนวคิดแผนที่โครงสร้าง. ใน ประมวลสาระชุดวิชาสัมมนาการวัดและประเมินผลการศึกษา หน่วยที่ 1-15 (หน้า 10:1-10:64). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (64 หน้า)
[4] เมษา นวลศรี. (2565). การวิจัยทางการศึกษา : แนวคิดสู่การปฏิบัติ. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (422 หน้า)
[2] เมษา นวลศรี. (2563). การวัดและประเมินผลการเรียนรู้. คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (380 หน้า)
[3] เมษา นวลศรี. (2564). หน่วยที่ 10 การเขียนข้อสอบตามแนวคิดแผนที่โครงสร้าง. ใน ประมวลสาระชุดวิชาสัมมนาการวัดและประเมินผลการศึกษา หน่วยที่ 1-15 (หน้า 10:1-10:64). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (64 หน้า)
[4] เมษา นวลศรี. (2565). การวิจัยทางการศึกษา : แนวคิดสู่การปฏิบัติ. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (422 หน้า)
2) รายงานการวิจัย (RESEARCH REPORT)
[1] อุษา คงทอง และ เมษา นวลศรี. (2554). ประเมินหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ. 2549 และ พ.ศ. 2550 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (149 หน้า) แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[2] นิติกร อ่อนโยน และ เมษา นวลศรี. (2554). การศึกษาความต้องการในการเพิ่มสมรรถภาพของครูวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานี จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดสระแก้ว [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (81 หน้า) แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[3] ฐาปนา จ้อยเจริญ และ เมษา นวลศรี. (2558). การวิเคราะห์สมรรถนะของครูไทยตามกรอบสมรรถนะของครูแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในศตวรรษที่ 21 : กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาคกลาง [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (96 หน้า) แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[4] จิตตรี พละกุล และ เมษา นวลศรี. (2559). การวิเคราะห์องค์ประกอบพฤติกรรมความเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น : กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาคกลาง [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (91 หน้า) แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[5] เมษา นวลศรี. (2561). การพัฒนามาตรวัดความมีจิตอาสาของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (96 หน้า) แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[6] เมษา นวลศรี และ กุลชาติ พันธุวรกุล. (2562). การวิเคราะห์สมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลของครู : กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาคกลาง [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (99 หน้า) แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[7] วรรณี แกมเกตุ, ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ, สิวะโชติ ศรีสุทธิยากร, และ เมษา นวลศรี. (2562). การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 : ช่วงปี พ.ศ. 2560-2562 [รายงานการวิจัย]. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.). (241 หน้า) แหล่งทุน : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.)
[8] สุภณิดา พัฒธร, พิชญาณี เชิงคีรี ไชยยะ, ธันย์นิชา วิโรจน์รุจน์, มนัญญา คำวชิระพิทักษ์, กนกวรรณ ปุณณะตระกูล, เมษา นวลศรี, วุฒิชัย วิถาทานัง, กุลชาติ พันธุวรกุล, ปัทมาภรณ์ เจริญนนท์, ศิวนนท์ นิลพาณิชย์, และ นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง. (2563). การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวไรซ์เบอร์รี่ : กรณีศึกษาเครื่องดื่มจมูกข้าวไรซ์เบอร์รี่สวนสองแสน ตำบลทับไทย อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (69 หน้า) แหล่งทุน : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[9] ปุณยนุช นิลแสง, วีระวัฒน์ อุ่นเสน่หา, ปวิช เรียงศิริ, กุลชาติ พันธุวรกุล, เมษา นวลศรี, ณัฐสิมา โตขันธ์, คณิต เรืองขจร, เฉลิมพงษ์ จันทร์สุขา, ทัศพร ชูศักดิ์, และ ชูศักดิ์ ขันธชาติ. (2563). การสำรวจการปรับตัวของชุมชนวิถีใหม่ ในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสระแก้ว โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (247 หน้า) แหล่งทุน : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
[10] เมษา นวลศรี และ กุลชาติ พันธุวรกุล. (2564). แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลสำหรับนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (179 หน้า) แหล่งทุน : -
[11] เมษา นวลศรี และ กุลชาติ พันธุวรกุล. (2564). การวิเคราะห์ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (138 หน้า) แหล่งทุน : -
[12] กุลชาติ พันธุวรกุล และ เมษา นวลศรี. (2564). แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะด้านการวิจัยในชั้นเรียนของครูปฐมวัย สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี : การประเมินความต้องการจำเป็นแบบสมบูรณ์ [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (180 หน้า) แหล่งทุน : -
[13] กุลชาติ พันธุวรกุล, คันธรส ภาผล, และ เมษา นวลศรี. (2566). การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมครูผู้ดูแลเด็กเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่เสริมสร้างเอ็กเซ็กคิวทีฟฟังก์ชันส์ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[14] กุลชาติ พันธุวรกุล และ เมษา นวลศรี. (2566). การประเมินความต้องการจำเป็นเพื่อสมรรถนะครูด้านการประเมินผลการเรียนรู้ในโรงเรียนขนาดเล็ก จังหวัดปทุมธานี [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[15] เมษา นวลศรี และ กุลชาติ พันธุวรกุล. (2566). การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสมรรถนะครูด้านการประเมินผลการเรียนรู้ในโรงเรียนขนาดเล็ก จังหวัดปทุมธานี [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[16] กุลชาติ พันธุวรกุล, คันธรส ภาผล, และ เมษา นวลศรี. (2566). การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมครูปฐมวัยเกี่ยวกับ การจัดประสบการณ์การเล่นลูสพาร์ทที่เสริมสร้าง Soft Skills ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนอนุบาล จังหวัดสระแก้ว [รายงานการวิจัย]. ภายใต้โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้แบบลูสพาร์ทที่เสริมสร้าง Soft Skills ของเด็กปฐมวัย จังหวัดสระแก้ว. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. แหล่งทุน : กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.)
[17] คันธรส ภาผล, กุลชาติ พันธุวรกุล, และ เมษา นวลศรี. (2566). การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ปกครองเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเล่นลูสพาร์ทตามแนวคิดการเรียนรู้ที่ใช้บ้านเป็นฐาน (HBL) เพื่อเสริมสร้าง Soft Skills ของเด็กปฐมวัย จังหวัดสระแก้ว [รายงานการวิจัย]. ภายใต้โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้แบบลูสพาร์ทที่เสริมสร้าง Soft Skills ของเด็กปฐมวัย จังหวัดสระแก้ว. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. แหล่งทุน : กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.)
[2] นิติกร อ่อนโยน และ เมษา นวลศรี. (2554). การศึกษาความต้องการในการเพิ่มสมรรถภาพของครูวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานี จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดสระแก้ว [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (81 หน้า) แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[3] ฐาปนา จ้อยเจริญ และ เมษา นวลศรี. (2558). การวิเคราะห์สมรรถนะของครูไทยตามกรอบสมรรถนะของครูแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในศตวรรษที่ 21 : กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาคกลาง [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (96 หน้า) แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[4] จิตตรี พละกุล และ เมษา นวลศรี. (2559). การวิเคราะห์องค์ประกอบพฤติกรรมความเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น : กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาคกลาง [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (91 หน้า) แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[5] เมษา นวลศรี. (2561). การพัฒนามาตรวัดความมีจิตอาสาของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (96 หน้า) แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[6] เมษา นวลศรี และ กุลชาติ พันธุวรกุล. (2562). การวิเคราะห์สมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลของครู : กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาคกลาง [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (99 หน้า) แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[7] วรรณี แกมเกตุ, ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ, สิวะโชติ ศรีสุทธิยากร, และ เมษา นวลศรี. (2562). การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 : ช่วงปี พ.ศ. 2560-2562 [รายงานการวิจัย]. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.). (241 หน้า) แหล่งทุน : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.)
[8] สุภณิดา พัฒธร, พิชญาณี เชิงคีรี ไชยยะ, ธันย์นิชา วิโรจน์รุจน์, มนัญญา คำวชิระพิทักษ์, กนกวรรณ ปุณณะตระกูล, เมษา นวลศรี, วุฒิชัย วิถาทานัง, กุลชาติ พันธุวรกุล, ปัทมาภรณ์ เจริญนนท์, ศิวนนท์ นิลพาณิชย์, และ นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง. (2563). การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวไรซ์เบอร์รี่ : กรณีศึกษาเครื่องดื่มจมูกข้าวไรซ์เบอร์รี่สวนสองแสน ตำบลทับไทย อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (69 หน้า) แหล่งทุน : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[9] ปุณยนุช นิลแสง, วีระวัฒน์ อุ่นเสน่หา, ปวิช เรียงศิริ, กุลชาติ พันธุวรกุล, เมษา นวลศรี, ณัฐสิมา โตขันธ์, คณิต เรืองขจร, เฉลิมพงษ์ จันทร์สุขา, ทัศพร ชูศักดิ์, และ ชูศักดิ์ ขันธชาติ. (2563). การสำรวจการปรับตัวของชุมชนวิถีใหม่ ในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสระแก้ว โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (247 หน้า) แหล่งทุน : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
[10] เมษา นวลศรี และ กุลชาติ พันธุวรกุล. (2564). แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลสำหรับนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (179 หน้า) แหล่งทุน : -
[11] เมษา นวลศรี และ กุลชาติ พันธุวรกุล. (2564). การวิเคราะห์ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (138 หน้า) แหล่งทุน : -
[12] กุลชาติ พันธุวรกุล และ เมษา นวลศรี. (2564). แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะด้านการวิจัยในชั้นเรียนของครูปฐมวัย สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี : การประเมินความต้องการจำเป็นแบบสมบูรณ์ [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (180 หน้า) แหล่งทุน : -
[13] กุลชาติ พันธุวรกุล, คันธรส ภาผล, และ เมษา นวลศรี. (2566). การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมครูผู้ดูแลเด็กเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่เสริมสร้างเอ็กเซ็กคิวทีฟฟังก์ชันส์ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[14] กุลชาติ พันธุวรกุล และ เมษา นวลศรี. (2566). การประเมินความต้องการจำเป็นเพื่อสมรรถนะครูด้านการประเมินผลการเรียนรู้ในโรงเรียนขนาดเล็ก จังหวัดปทุมธานี [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[15] เมษา นวลศรี และ กุลชาติ พันธุวรกุล. (2566). การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสมรรถนะครูด้านการประเมินผลการเรียนรู้ในโรงเรียนขนาดเล็ก จังหวัดปทุมธานี [รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. แหล่งทุน : กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
[16] กุลชาติ พันธุวรกุล, คันธรส ภาผล, และ เมษา นวลศรี. (2566). การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมครูปฐมวัยเกี่ยวกับ การจัดประสบการณ์การเล่นลูสพาร์ทที่เสริมสร้าง Soft Skills ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนอนุบาล จังหวัดสระแก้ว [รายงานการวิจัย]. ภายใต้โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้แบบลูสพาร์ทที่เสริมสร้าง Soft Skills ของเด็กปฐมวัย จังหวัดสระแก้ว. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. แหล่งทุน : กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.)
[17] คันธรส ภาผล, กุลชาติ พันธุวรกุล, และ เมษา นวลศรี. (2566). การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ปกครองเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเล่นลูสพาร์ทตามแนวคิดการเรียนรู้ที่ใช้บ้านเป็นฐาน (HBL) เพื่อเสริมสร้าง Soft Skills ของเด็กปฐมวัย จังหวัดสระแก้ว [รายงานการวิจัย]. ภายใต้โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้แบบลูสพาร์ทที่เสริมสร้าง Soft Skills ของเด็กปฐมวัย จังหวัดสระแก้ว. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. แหล่งทุน : กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.)
3) บทความวิจัย (RESEARCH ARTICLE) / บทความวิชาการ (ACADEMIC ARTICLE)
[1] กุลชาติ พันธุวรกุล และเมษา นวลศรี. (2562). เด็กปฐมวัยกับการเป็นพลเมืองดิจิทัล: โอกาสหรือความเสี่ยง. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ 47 ฉบับเพิ่มเติม 2. (ตุลาคม ? ธันวาคม): 1 - 23. (TCI Tier 1)
[2] เมษา นวลศรี และกุลชาติ พันธุวรกุล. (2565). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์. ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2565. (TCI Tier 1)
[3] สิริวิมล จินาพุก และ เมษา นวลศรี. (2565). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้แบบจำลองเป็นฐานเพื่อพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ เรื่อง การปรากฏของดวงจันทร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 19 ฉบับที่ 2. (TCI กลุ่มที่ 2)
[4] เมษา นวลศรี และกุลชาติ พันธุวรกุล. (2564). การวิเคราะห์ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. Journal of Modern Learning Development. ปีที่ 6 ฉบับที่ 6. พฤศจิกายน - ธันวาคม 2564. (TCI Tier 2)
[5] เมษา นวลศรี และกุลชาติ พันธุวรกุล. (2564). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันสมรรถนะดิจิทัลสำหรับนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ 49 ฉบับที่ 3. (กรกฎาคม ? กันยายน 2564). (TCI Tier 2)
[6] เมษา นวลศรี และกุลชาติ พันธุวรกุล. (2564). ความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 15 ฉบับที่ 3. (กันยายน - ธันวาคม 2564). (TCI Tier 1)
[7] สมฤดี พุทธสม และ เมษา นวลศรี. (2564). การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ที่เสริมด้วยการใช้ผังกราฟิกเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 7(11). (TCI Tier 2)
[8] ตะวัน รุ่งแสง และ เมษา นวลศรี. (2564). การพัฒนาความความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์ เรื่อง ระบบนิเวศ. Journal of Roi Kaensarn Academi. ปีที่ 6 ฉบับที่ 7. (กรกฎาคม 2564): 47-61 (TCI Tier 2)
[9] เมธีนี ทาระวัน และ เมษา นวลศรี. (2564). การพัฒนาความสามารถในการสร้างคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. Journal of Roi Kaensarn Academi. ปีที่ 6 ฉบับที่ 6. (มิถุนายน 2564): 20-33. (TCI Tier 2)
[10] เมษา นวลศรี, กุลชาติ พันธุวรกุล, นริศรา จริยะพันธุ์, นิติกร อ่อนโยน, ศิริขวัญ บุญธรรม, สุชาวดี สมสำราญ และวิษณุ สุทธิวรรณ. (2564). การประเมินความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนาด้านการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. Journal of Roi Kaensarn Academi. ปีที่ 6 ฉบับที่ 6. (มิถุนายน 2564): 34 - 51. (TCI Tier 2)
[11] กุลชาติ พันธุวรกุล, เมษา นวลศรี, วรีรัตน์ สัมพัทธ์พงศ์, นุชรัฐ บาลลา, เกียรติศักดิ์ รักษาพล และวีระวัฒน์ อุ่นเสน่หา. (2564). การประเมินความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนาบริการด้านวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. ปีที่ 7 ฉบับที่ 4. (เมษายน 2564): 17 - 30. (TCI Tier 2)
[12] เมษา นวลศรี. (2564). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาการวิจัยทางการศึกษาด้วยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. ปีที่ 13 ฉบับที่ 1. (มกราคม - มิถุนายน 2564): 77-94. (TCI Tier 2)
[13] เมษา นวลศรี และกุลชาติ พันธุวรกุล. (2563). ผลการพัฒนาหลักสูตรบ่มเพาะบัณฑิตให้มีทักษะเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารครุศาสตร์สาร. ปีที่ 14 ฉบับที่ 2. (กรกฎาคม - ธันวาคม 2563): 115 - 127. (TCI Tier 2)
[14] เมษา นวลศรี และกุลชาติ พันธุวรกุล. (2563). การวิเคราะห์สมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลของครู: กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาคกลาง. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 14 ฉบับที่ 3. (กันยายน - ธันวาคม 2563) : 115 - 133. (TCI Tier 1)
[15] กุลชาติ พันธุวรกุล และเมษา นวลศรี. (2562). เด็กปฐมวัยกับการเป็นพลเมืองดิจิทัล: โอกาสหรือความเสี่ยง. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ 47 ฉบับเพิ่มเติม 2. (ตุลาคม - ธันวาคม 2562): 1 - 23. (TCI Tier 1)
[16] กุลชาติ พันธุวรกุล และเมษา นวลศรี. (2562). การประเมินความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านความรู้ของนักศึกษาครูตามแนวคิด TPACK. วารสารครุศาสตร์สาร. ปีที่ 13 ฉบับที่ 1. (มกราคม ? มิถุนายน): 89 - 112. (TCI Tier 1)
[17] เมษา นวลศรี. (2562). การวิเคราะห์ความสุขในการเรียนรู้ของนักศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ 47 ฉบับเพิ่มเติม 2. (ตุลาคม - ธันวาคม 2562): 223-243. (TCI Tier 1)
[18] เมษา นวลศรี. (2562). การวิเคราะห์ความมีจิตอาสาของนักศึกษาครู: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารครุศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 13 ฉบับที่ 2. มิถุนายน -ธันวาคม 2562): 145-166. (TCI Tier 1)
[19] เมษา นวลศรี และ ยุภาพร นอกเมือง. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการเรียนเรียนรู้ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูถัมภ์. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 13 ฉบับที่ 3. (กันยายน-ธันวาคม): 101-112. (TCI Tier 1)
[20] เมษา นวลศรี. (2562). การพัฒนาเกณฑ์ปกติของมาตรวัดความมีจิตอาสาของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 13 ฉบับที่ 2. (พฤษภาคม-สิงหาคม): 122-135. (TCI Tier 1)
[21] เมษา นวลศรี. (2561). การพัฒนาและตรวจสอบคุณสมบัติด้านจิตมิติของมาตรวัดความมีจิตอาสาของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 12 ฉบับที่ 3. (พฤษภาคม-สิงหาคม): 108 ? 119. (TCI Tier 1)
[22] เมษา นวลศรี. (2561). การวิเคราะห์องค์ประกอบของความมีจิตอาสาของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ. ในเอกสารสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 3 ประจำปี 2561. วันที่ 1มิถุนายน 2561. วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (685 - 694).
[23] รัชดาพร นาแถมพลอย และเมษา นวลศรี. (2561). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. 29-30 มีนาคม 2661. (1406 -1414).
[24] ศิริวรรณ สมจิตร และ เมษา นวลศรี. (2561). ผลของการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเกมทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ในเอกสารสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 3 ประจำปี 2561. วันที่ 1 มิถุนายน 2561. วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (783 - 791).
[25] จิตตรี พละกุล และ เมษา นวลศรี. (2561). การวิเคราะห์องค์ประกอบพฤติกรรมความเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น: กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาคกลาง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. ปีที่ 14 ฉบับที่ 1: 1-22. (TCI Tier 1)
[2] เมษา นวลศรี และกุลชาติ พันธุวรกุล. (2565). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์. ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2565. (TCI Tier 1)
[3] สิริวิมล จินาพุก และ เมษา นวลศรี. (2565). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับการใช้แบบจำลองเป็นฐานเพื่อพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ เรื่อง การปรากฏของดวงจันทร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 19 ฉบับที่ 2. (TCI กลุ่มที่ 2)
[4] เมษา นวลศรี และกุลชาติ พันธุวรกุล. (2564). การวิเคราะห์ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของชาติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. Journal of Modern Learning Development. ปีที่ 6 ฉบับที่ 6. พฤศจิกายน - ธันวาคม 2564. (TCI Tier 2)
[5] เมษา นวลศรี และกุลชาติ พันธุวรกุล. (2564). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันสมรรถนะดิจิทัลสำหรับนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ 49 ฉบับที่ 3. (กรกฎาคม ? กันยายน 2564). (TCI Tier 2)
[6] เมษา นวลศรี และกุลชาติ พันธุวรกุล. (2564). ความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรคของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 15 ฉบับที่ 3. (กันยายน - ธันวาคม 2564). (TCI Tier 1)
[7] สมฤดี พุทธสม และ เมษา นวลศรี. (2564). การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ที่เสริมด้วยการใช้ผังกราฟิกเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 7(11). (TCI Tier 2)
[8] ตะวัน รุ่งแสง และ เมษา นวลศรี. (2564). การพัฒนาความความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสตอรี่ไลน์ เรื่อง ระบบนิเวศ. Journal of Roi Kaensarn Academi. ปีที่ 6 ฉบับที่ 7. (กรกฎาคม 2564): 47-61 (TCI Tier 2)
[9] เมธีนี ทาระวัน และ เมษา นวลศรี. (2564). การพัฒนาความสามารถในการสร้างคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. Journal of Roi Kaensarn Academi. ปีที่ 6 ฉบับที่ 6. (มิถุนายน 2564): 20-33. (TCI Tier 2)
[10] เมษา นวลศรี, กุลชาติ พันธุวรกุล, นริศรา จริยะพันธุ์, นิติกร อ่อนโยน, ศิริขวัญ บุญธรรม, สุชาวดี สมสำราญ และวิษณุ สุทธิวรรณ. (2564). การประเมินความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนาด้านการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. Journal of Roi Kaensarn Academi. ปีที่ 6 ฉบับที่ 6. (มิถุนายน 2564): 34 - 51. (TCI Tier 2)
[11] กุลชาติ พันธุวรกุล, เมษา นวลศรี, วรีรัตน์ สัมพัทธ์พงศ์, นุชรัฐ บาลลา, เกียรติศักดิ์ รักษาพล และวีระวัฒน์ อุ่นเสน่หา. (2564). การประเมินความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนาบริการด้านวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. ปีที่ 7 ฉบับที่ 4. (เมษายน 2564): 17 - 30. (TCI Tier 2)
[12] เมษา นวลศรี. (2564). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาการวิจัยทางการศึกษาด้วยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. ปีที่ 13 ฉบับที่ 1. (มกราคม - มิถุนายน 2564): 77-94. (TCI Tier 2)
[13] เมษา นวลศรี และกุลชาติ พันธุวรกุล. (2563). ผลการพัฒนาหลักสูตรบ่มเพาะบัณฑิตให้มีทักษะเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารครุศาสตร์สาร. ปีที่ 14 ฉบับที่ 2. (กรกฎาคม - ธันวาคม 2563): 115 - 127. (TCI Tier 2)
[14] เมษา นวลศรี และกุลชาติ พันธุวรกุล. (2563). การวิเคราะห์สมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลของครู: กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาคกลาง. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 14 ฉบับที่ 3. (กันยายน - ธันวาคม 2563) : 115 - 133. (TCI Tier 1)
[15] กุลชาติ พันธุวรกุล และเมษา นวลศรี. (2562). เด็กปฐมวัยกับการเป็นพลเมืองดิจิทัล: โอกาสหรือความเสี่ยง. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ 47 ฉบับเพิ่มเติม 2. (ตุลาคม - ธันวาคม 2562): 1 - 23. (TCI Tier 1)
[16] กุลชาติ พันธุวรกุล และเมษา นวลศรี. (2562). การประเมินความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านความรู้ของนักศึกษาครูตามแนวคิด TPACK. วารสารครุศาสตร์สาร. ปีที่ 13 ฉบับที่ 1. (มกราคม ? มิถุนายน): 89 - 112. (TCI Tier 1)
[17] เมษา นวลศรี. (2562). การวิเคราะห์ความสุขในการเรียนรู้ของนักศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ 47 ฉบับเพิ่มเติม 2. (ตุลาคม - ธันวาคม 2562): 223-243. (TCI Tier 1)
[18] เมษา นวลศรี. (2562). การวิเคราะห์ความมีจิตอาสาของนักศึกษาครู: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารครุศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 13 ฉบับที่ 2. มิถุนายน -ธันวาคม 2562): 145-166. (TCI Tier 1)
[19] เมษา นวลศรี และ ยุภาพร นอกเมือง. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการเรียนเรียนรู้ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูถัมภ์. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 13 ฉบับที่ 3. (กันยายน-ธันวาคม): 101-112. (TCI Tier 1)
[20] เมษา นวลศรี. (2562). การพัฒนาเกณฑ์ปกติของมาตรวัดความมีจิตอาสาของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 13 ฉบับที่ 2. (พฤษภาคม-สิงหาคม): 122-135. (TCI Tier 1)
[21] เมษา นวลศรี. (2561). การพัฒนาและตรวจสอบคุณสมบัติด้านจิตมิติของมาตรวัดความมีจิตอาสาของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 12 ฉบับที่ 3. (พฤษภาคม-สิงหาคม): 108 ? 119. (TCI Tier 1)
[22] เมษา นวลศรี. (2561). การวิเคราะห์องค์ประกอบของความมีจิตอาสาของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ. ในเอกสารสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 3 ประจำปี 2561. วันที่ 1มิถุนายน 2561. วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (685 - 694).
[23] รัชดาพร นาแถมพลอย และเมษา นวลศรี. (2561). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. 29-30 มีนาคม 2661. (1406 -1414).
[24] ศิริวรรณ สมจิตร และ เมษา นวลศรี. (2561). ผลของการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเกมทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ในเอกสารสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 3 ประจำปี 2561. วันที่ 1 มิถุนายน 2561. วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (783 - 791).
[25] จิตตรี พละกุล และ เมษา นวลศรี. (2561). การวิเคราะห์องค์ประกอบพฤติกรรมความเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น: กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาคกลาง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. ปีที่ 14 ฉบับที่ 1: 1-22. (TCI Tier 1)
4) รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ (PROCEEDING)
[1] เมษา นวลศรี. (2557). การวิจัยประเมินหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป พ.ศ. 2549 มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์ : กรณีศึกษากลุ่มวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. คุณภาพงานวิจัย เพื่อพัฒนาคน พัฒนางาน. งานประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรีอยุธยา ครั้งที่ 5. (น. 40-47). สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี (ระดับชาติ)
[2] Nuansri, M., Tnandhanakanond, K., & Pasipol, S. (2016). Development of multidimensional construct map of responsible citizenship of lower secondary school students. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 537-543. (ระดับนานาชาติ)
[3] รัชดาพร นาแถมพลอย และ เมษา นวลศรี. (2561). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. น้อมนำศาสตร์พระราชา สู่การวิจัยและพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 10. (น. 1406-1414). สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. (ระดับชาติ)
[4] เมษา นวลศรี. (2561). การวิเคราะห์องค์ประกอบของความมีจิตอาสาของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ. นวัตกรรมการจัดการ : การขับเคลื่อนธุรกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจดิจิทัล. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2561. (น. 685-694). วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (ระดับชาติ)
[5] ศิริวรรณ สมจิตร และ เมษา นวลศรี. (2561). ผลของการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเกมทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. นวัตกรรมการจัดการ : การขับเคลื่อนธุรกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจดิจิทัล. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2561. (น. 821-829). วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (ระดับชาติ)
[6] ชนิดาภา ยิ่งประยูร, เรขา อรัญวงศ์, และ เมษา นวลศรี. (2565). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เทคนิคกลุ่มสืบค้นร่วมกับแผนผังความคิด. การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ครั้งที่ 15. (น.459-470). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. (ระดับชาติ)
[2] Nuansri, M., Tnandhanakanond, K., & Pasipol, S. (2016). Development of multidimensional construct map of responsible citizenship of lower secondary school students. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 537-543. (ระดับนานาชาติ)
[3] รัชดาพร นาแถมพลอย และ เมษา นวลศรี. (2561). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. น้อมนำศาสตร์พระราชา สู่การวิจัยและพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 10. (น. 1406-1414). สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. (ระดับชาติ)
[4] เมษา นวลศรี. (2561). การวิเคราะห์องค์ประกอบของความมีจิตอาสาของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ. นวัตกรรมการจัดการ : การขับเคลื่อนธุรกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจดิจิทัล. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2561. (น. 685-694). วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (ระดับชาติ)
[5] ศิริวรรณ สมจิตร และ เมษา นวลศรี. (2561). ผลของการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเกมทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. นวัตกรรมการจัดการ : การขับเคลื่อนธุรกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจดิจิทัล. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2561. (น. 821-829). วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (ระดับชาติ)
[6] ชนิดาภา ยิ่งประยูร, เรขา อรัญวงศ์, และ เมษา นวลศรี. (2565). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เทคนิคกลุ่มสืบค้นร่วมกับแผนผังความคิด. การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ครั้งที่ 15. (น.459-470). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. (ระดับชาติ)
email
- mesa@vru.ac.th