ข้อมูล

ธัญวรัตน์ ปิ่นทอง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธัญวรัตน์ ปิ่นทอง
TANWARAT PINTHONG
ประวัติการศึกษา
    ปริญญาตรี
        1. ค.บ.(มัธยมศึกษา-ชีววิทยาและวิทยาศาสตร์ทั่วไป) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
    2. ส.บ. (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช2554

    บัณฑิตศึกษา
      ปริญญาโท
          - ปริญญาโท - วท.ม.(วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2552

รางวัลเชิดชูเกียรติ (AWARDS OF HONOR)
    -
ความเชียวชาญ (FIELDS OF EXPERTISE)
    -
ผลงานทางวิชาการ (ACADEMIC PUBLICATION)
    1) เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน (TEACHING PUBLICATION)/ตำรา (textbook)
            [1] ธัญวรัตน์ ปิ่นทอง. (2561). การสอนวิทยาศาสตร์ทั่วไป. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ. วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี.
    2) รายงานการวิจัย (RESEARCH REPORT)
            [1] Pinthong, T. (2009). Effect of environmental and human use factors to abundance of green peafowl Pavo muticus at Huai Tab Saloa and Huai Songtang, Huai Kha Khaeng wildlife sanctuary, Uthai Thani province. Master?s thesis Program in Environmental Science (Interdisciplinary Program) Graduate School, Chulalongkorn University.
            [2] Pinthong, T and Nuansri, M. (2016). A Needs Assessment Research to Prepare Readiness for The ASEAN Community of Students of Valaya Alongkorn Rajabhat University Under the Royal Patronage. Journal of Graduate Studies Valaya Alongkorn Rajabhat University, 10(2), 189-200. (in Thai)
            [3] Vasinayanuwatana, T, Pinthong, T and Faikhamta, C. (2018). Current Trends on Science Teacher Professional Development. Journal of Graduate Studies Valaya Alongkorn Rajabhat University, 12(2), 82-104. (in Thai)
            [4] Pinthong, T., Jaitrong, W., and Ketsing, J. (2020). A Study of Relationship between Pre-service Teachers' Prior Experience on Science Learning and Their Self-Efficacy Belief on Inquiry-based Learning. Journal of Education Naresuan University, 22(1), 72 - 83. (In Thai)
            [5] ธัญวรัตน์ ปิ่นทอง และฐาปนา จ้อยเจริญ. (2563). การศึกษาความเชื่อในความสามารถแห่งตนด้านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้และความท้าทายในการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ของนักศึกษาครู. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2563, หน้า 70 - 82  แหล่งทุน : -
            [6] Pongsophon, P., Pinthong, T., Lertdechapat, K., and Vasinayanuwatana, T., (2021). Developing Science Teachers’ Understanding of Engineering Design Process through Workshop on Biomimicry for Green Design. SWU. Sci J. Vol.37 No.1 June 2021, pp. 1 – 15.   แหล่งทุน : -
            [7] รัชดาภรณ์ ไชยวิวิช ธัญวรัตน์ ปิ่นทอง และวิษณุ สุทธิวรรณ. (2564). ผลของการใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS ที่มีต่อเจตคติด้านสิ่งแวดล้อมและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มนุษย์กับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564, หน้า 127 – 142.   แหล่งทุน : -
            [8] นิตยา ทันใจ ธัญวรัตน์ ปิ่นทอง และวิษณุ สุทธิวรรณ. (2564). การใช้แบบจําลองทางวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบบสุริยะ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2564. หน้า 31 – 47.  แหล่งทุน : -
    3) บทความวิจัย (RESEARCH ARTICLE) / บทความวิชาการ (ACADEMIC ARTICLE)
            [1] ธัญวรัตน์ ปิ่นทอง ธนาศักดิ์ กองโกย สิทธิเชษฐ์ บุณประพันธ์พงศ์ ชนาธิป จันทร์สอง และจีระวรรณ เกษสิงห์. (2561). วัฒนธรรมไม่ใช่หลักสูตร: สิ่งที่ทำให้เกิดความเป็นเลิศทางการศึกษาวิทยาศาสตร์ของประเทศกลุ่มเอเชียตะวันออก. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์. ปีที่ 33 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2561. หน้า 1 – 7.
    4) รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ (PROCEEDING)
            [1] Pinthong, T. and Meckvichai, W. (2008). Habitat Utilization and Conservation Planning of Green Peafowl (Pavo muticus) in Huai Tab Saloa, HuaiKhaKaeng Wildlife Santuary, Uthaithani Province. The Association for Tropical Biology and Conservation (ATBC). February 12-15, 2009. Chiang Mai, Thailand.
            [2] Pinthong, T. and Meckvichai, W. (2009). Influence of predator abundance and human activities on Green Peafowl (Pavo muticus) abundance in HuaiKhaKaeng Wildlife Santuary. 35th Congress on Science and Technology of Thailand. October 15-17, 2009.Chonburi.
            [3] Pinthong, T. and Meckvichai, W. (2015). Food Habits of Green Peafowl (Pavo muticus). 53rd of Kasetsart University Annual Conference. February 3-6, 2015. Bangkok, Thailand.
            [4] Pinthong, T and Faikhamta, C. (2017). Research Trends and Issues in Informal Science Education. In C. Yuenyong, T. Sangpradit, and S. Chatmaneerungcharoen (Eds.), International Conference for Science Educator and Teachers (ISET) 2017. Paper presented at the 5th International Conference of Science Teacher Educators and Teachers (ISET), Phuket, Thailand, June 6-8, 2017 (pp. 030039-1 - 0030039-10). AIP Publishing.
            [5] Pinthong, T., Ketsing, J., & Jaitrong, W. (2017, December). From student to teacher: Relation between preservice science teachers’ prior experience and self-efficacy belief of inquiry-based learning. Paper presented at 2017 HU-SNU-NTNU-KU Joint-Symposium for Science Education. Sapporo, Japan.
            [6] Pongsophon, P., Pinthong, T., Lertdechapat, K., and Vasinayanuwatana, T., (2018). Training Biology Teacher to Incorporate Biomimicry in Teaching Engineering Design to Help Students Create Nature-Inspired Innovation. Paper presented at 2018 NTNU-KU-SNU-HU Joint-Symposium on Science Education. Hualien, Taiwan.
            [7] Pinthong, T., Faikhamta, C., Jaitrong, W., and Ketsing, J. (2018). Identifying Components and Indicators for Science Teacher Identity. Paper presented at 2018 International Conference of East-Asian Association for Science Education (EASE). November 29 - December 2, 2018, Hualien, Taiwan
            [8] Choichaloen, T and Pinthong, T. (2019). PCK of Inquiry: An Instrument of Study Pre-service Science Teachers’ Learning from the First Teaching experience. Paper presented at the 7th International conference for Science Educators and Teacher (ISET2019). Pattaya, Thailand.
            [9] Pinthong, T., Faikhamta, C., Jaitrong, W., and Ketsing, J. (2019). A mixed methods study for Identifying Components and Indicators Contributing to Science Teacher Identity. Paper presented at European Science Education Research Association (ESERA 2019). On August 26 – 30, 2019, Bologna, Italy.
            [10] ธัญวรัตน์ ปิ่นทอง. (2564). การศึกษาสภาพและความท้าทายในการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูวิทยาศาสตร์. ในเล่มรวมบทความการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 ประจำปี 2564. วันที่ 7 พฤษภาคม 2564, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผ่านระบบ VDO conference.
            [11] Pinthong, T., Jaitrong, W., and Ketsing, J. (2021). Influence of Pre-service Science Teachers Life-history Trajectories on the Construction of Science Teacher Identity. Paper presented at the 2021 National RGJ and RRI Conferences, On June 14, 2021, Thailand (VDO conference)
            [12] Pinthong, T., Jaitrong, W., and Ketsing, J. (2022). Practical Partnerships: Role of Museum in Science Teacher Preparation. Paper presented at The 3rd International Symposium on Natural Science: Natural Resource Sustainability and People’s Responsibility for Society, On December 1 – 2, 2022, Rama 9 Museum, National Science Musuem, Thailand.

email
    ยังไม่มีข้อมูลแสดง