ข้อมูล

อนันต์  ลากุล
อาจารย์อนันต์  ลากุล
MR. ANAN LAKUL
ประวัติการศึกษา
    ปริญญาตรี
        1. ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาไทย (ศศ.บ. ภาษาไทย)

    บัณฑิตศึกษา
      ปริญญาโท
          - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย (ศศ.ม. ภาษาไทย)

รางวัลเชิดชูเกียรติ (AWARDS OF HONOR)
    -
ความเชียวชาญ (FIELDS OF EXPERTISE)
            1. ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ด้านการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไป 0001101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและสืบค้น VGE 102 การใช้ภาษาไทยอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการสื่อสาร
            2. ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ด้านการสอนรายวิชาคณะ ETP 106 ภาษาเพื่อการสื่อสารสำหรับครู
            3. ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ด้านการสอนรายวิชาเอก ๒๐๑๑๓๐๑ วรรณกรรมศึกษา ๑๕๔๓๒๐๘ การอ่านเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ETH ๒๐๖ คติชนวิทยา ETH 351 คติชนวิทยาสำหรับครู ETH 204 ศิลปะการอ่านออกเสียง ETH 302 พัฒนาการของภาษาไทย ETH 102 แนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย ETH 243 วรรณคดีพุทธศาสนาสำหรับครู ETH 104 การเขียนเพื่อการสื่อสารทางวิชาการและวิชาชีพ ETH 342 วรรณกรรม ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราชสำหรับครู
ผลงานทางวิชาการ (ACADEMIC PUBLICATION)
    1) เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน (TEACHING PUBLICATION)/ตำรา (textbook)
            [1] แนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย
            [2] ภาษาเพื่อการสื่อสารสำหรับครู
            [3] การเขียนเพื่อการสื่อสารทางวิชาการและวิชาชีพ
    2) รายงานการวิจัย (RESEARCH REPORT)
    ยังไม่มีข้อมูลแสดง
    3) บทความวิจัย (RESEARCH ARTICLE) / บทความวิชาการ (ACADEMIC ARTICLE)
            [1] 1. Anan lakul, Marasri sotip. (2016). Local Identity of Lanna in Song Literature. 6th International Conference on Socio-economic and Environmental Issues in Development 2016, 12-13 May 2016. At National Economics University, Hanoi, Vietnam.
            [2] 2. Anan lakul,Umarin Tularak. (2017).The Relationship between Legend of Kumphawapi City and Tai Local Beliefs. International Journal of Social Science and Humanity, March 25-27, 2017. Khoto Japan.
            [3] 3. Anan lakul, Umarin Tularak. (2017). Legends of a Collapsed City: Commonalities and Relationships Between Literature and Locality. 12th International Conference on Humanities and Social science (IC-HUSO) 2016. Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand.
            [4] 4. Anan lakul, Umarin Tularak. (2017).The Relationship between Legend of Kumphawapi City and Tai Local Beliefs. International Journal of Social Science and Humanity vol. 7, no. 10, pp. 676-680, 2017.. Khoto Japan.
            [5] อนันต์ ลากุล, อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2560). ลักษณะร่วมและความสัมพันธ์ของตำนานเมืองล่มภาคอีสานกับความเชื่อท้องถิ่น. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ชื่อ การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายบัณฑิตศึกษาภาษาไทย ครั้งที่ 1 สู่ทศวรรษใหม่ในบริบท 4.0 : ทิศทางการวิจัยภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา 25 สิงหาคม 2560. หอศิลปวัฒนธรรม กรุงเทพฯ.
            [6] อนันต์ ลากุล, อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2560). แบบเรื่องและอนุภาคสัตว์สีเผือกในตำนานเมืองล่มภาคอีสาน. วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม JOURNAL OF LANGUAGE, RELIGION AND CULTURE. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น; Journal of Graduate Study in Humanities and Social Sciences.
            [7] อนันต์ ลากุล. (256๒). การศึกษาอัตลักษณ์ถิ่นเหนือและอีสานผ่านวรรณกรรมเพลง. A Study of Identity of Northern and NortheasternRegions through Song Literature. วิวิธวรรณสาร วารสารด้านภาษาและวัฒนธรรม Journal of Language and Culture วิวิธวรรณสาร ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (2018): พฤษภาคม – สิงหาคม. มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
            [8] อนันต์ ลากุล, สมีลา เลาะวิถี. (256๒). การพัฒนาชุดแบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแบบร้อยกรองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนปราสาททองวิทยา EXERCISES OF PRONUNCIATION READING AND DIPHTHONGS VERSE STYLE OF STUDENTS SCHOOL FIVE PRASATTONGWITTHAYA SCHOOL. การประชุมวิชาการระดับชาติ “พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรมและคติชนวิทยาวิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
            [9] อนันต์ ลากุล, อัมพรพรรณ ยาหอม. (2563). การพัฒนาชุดแบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำบทร้อยกรองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนปราสาททองวิทยาDevelopment of a set for practice reading aloud skills, diphthongs, poetry for grade 5 students, Prasatthongwittaya School. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติราชภัฏวิจัยครั้งที่ 6 วันที่17-18 สิงหาคม 2563. มหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม.
            [10] Anan lakul, Ponlawit Srihcharee and NatthidaTeerasas. (256๕). THE STUDY OF ACADEMIC ACHIEVEMENT USING EXERCISE A SPELLINGSECTION FOR WRITING SKILLS OF PATTAMSUKSA 3 STUDENTS AT WATHUMNAWA SCHOOL, BANG PA IN DISTRICT, PHRA NAKHON SI AYUTTHAYA PROVICE. Dhammathas Academic Journal. Vol. 22 No. 3 (2022): July – September. Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Khon Kaen Campus.
            [11] อนันต์ ลากุล หฤทัย รัมมะบุตร และเนตรลดา คาน. (2565). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความ โดยใช้ทฤษฎี 5 W 1 H ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนประตูชัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Developing reading comprehension skills by using the 5W 1H theory of Pratuchai School grade 4 students Phranakhonsiayutthaya Province. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑๗ การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๗ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ประจำปี ๒๕๖๕ (SPUCON2022) วิจัยและนวัตกรรมสู่การพัมนาอย่างยั่งยืน วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๕. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
    4) รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ (PROCEEDING)
    ยังไม่มีข้อมูลแสดง

email
    ANAN.LA@VRU.AC.TH