ข้อมูล

คันธรส ภาผล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์คันธรส ภาผล
Asst. Prof. Khantharot Papol
ประวัติการศึกษา
    ปริญญาตรี
        1. คศ.บ. เกียรตินิยม (พัฒนาการครอบครัวและเด็ก) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, พ.ศ. 2548

    บัณฑิตศึกษา
      ปริญญาโท
          - กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ. 2553

รางวัลเชิดชูเกียรติ (AWARDS OF HONOR)
            1. รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น (คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประจำปีการศึกษา 2564
            2. นักวิจัยดีเด่น ด้านการพัฒนาท้องถิ่น ประจำปี 2566 ให้โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
ความเชียวชาญ (FIELDS OF EXPERTISE)
            1. การศึกษาปฐมวัย
            2. การเล่นลูสพาร์ท (Loose Parts Play)
            3. การอบรมเลี้ยงดูเด็กวัยทารกและวัยเตาะแตะ
            4. การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
            5. การเล่านิทานและวรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย
            6. การผลิตสื่อสร้างสรรค์ที่ส่งเสริมสุขภาวะของเด็กปฐมวัย
            7. การผลิตสื่อที่ส่งเสริมทักษะสมอง EF สำหรับเด็กปฐมวัย
ผลงานทางวิชาการ (ACADEMIC PUBLICATION)
    1) เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน (TEACHING PUBLICATION)/ตำรา (textbook)
            [1] คันธรส ภาผล. (2560). นิทานและหุ่นสําหรับเด็กปฐมวัย. คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (234 หน้า)
    2) รายงานการวิจัย (RESEARCH REPORT)
            [1] คันธรส ภาผล. (2553). รายงานการวิจัย เรื่อง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชานิทานและหุ่นสำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี. 64 หน้า.  แหล่งทุน : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
            [2] คันธรส ภาผล. (2560). รายงานการวิจัย เรื่อง การผลิตหุ่นเชิดโดยใช้วัสดุพื้นถิ่นมาประกอบการเล่านิทานในชุมชนบึงบอน. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี. 120 หน้า.  แหล่งทุน : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
            [3] คันธรส ภาผล.(2561). รายงานการวิจัย เรื่อง การจัดกิจกรรมการเล่านิทานโดยใช้หนังสือนิทานเล่มใหญ่เพื่อส่งเสริมทักษะการพูดสำหรับเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี. 64 หน้า.  แหล่งทุน : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
            [4] วิลินดา พงศ์ธราธิก และคันธรส ภาผล. (2561). รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมการผลิตสื่อการสอนผ่านกิจกรรมสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมการคิดสำหรับครูปฐมวัย. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี. 58 หน้า.  แหล่งทุน : -
            [5] คันธรส ภาผล และ กุลชาติ พันธุวรกุล. (2566). การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมครูผู้ดูแลเด็กเกี่ยวกับการผลิตชุดสื่อการ เรียนรู้โดยใช้วัสดุท้องถิ่นที่เสริมสร้างเอ็กเซ็กคิวทีฟฟังก์ชันส์ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี[รายงานการวิจัย]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. แหล่งทุน กองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.  แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
            [6] คันธรส ภาผล, กุลชาติ พันธุวรกุล, และ เมษา นวลศรี. (2566). การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมผู้ปกครองเกี่ยวกับการจัด ประสบการณ์การเล่นลูสพาร์ทตามแนวคิดการเรียนรู้ที่ใช้บ้านเป็นฐาน (HBL) เพื่อเสริมสร้าง Soft Skills ของเด็กปฐมวัย จังหวัดสระแก้ว [รายงานการวิจัย]. ภายใต้โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้แบบลูสพาร์ทที่เสริมสร้าง Soft Skills ของเด็กปฐมวัย จังหวัดสระแก้ว. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.   แหล่งทุน : กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.).
            [7] กุลชาติ พันธุวรกุล, คันธรส ภาผล, และ เมษา นวลศรี. (2566). การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมครูปฐมวัยเกี่ยวกับ การจัดประสบการณ์การเล่นลูสพาร์ทที่เสริมสร้าง Soft Skills ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนอนุบาล จังหวัดสระแก้ว [รายงานการวิจัย]. ภายใต้โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้แบบลูสพาร์ทที่เสริมสร้าง Soft Skills ของ เด็กปฐมวัย จังหวัดสระแก้ว. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์  แหล่งทุน : กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.).
    3) บทความวิจัย (RESEARCH ARTICLE) / บทความวิชาการ (ACADEMIC ARTICLE)
            [1] กุลชาติ พันธุวรกุล, เมษา นวลศรี, และ คันธรส ภาผล. (2567). ผลการใช้โปรแกรมการฝึกอบรมครูผู้ดูแลเด็กเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่เสริมสร้างเอ็กเซ็กคิวทีฟฟังก์ชันส์ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 52(2), EDUCU5202004 (11 pages). (TCI 1)
            [2] คันธรส ภาผล. (2567). การศึกษาการจัดกิจกรรมของครูปฐมวัยที่ส่งเสริมสุขภาวะและความปลอดภัยสำหรับเด็กปฐมวัยในยุคอัลฟ่า. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 12(2), 136-150. (TCI 2)
            [3] คันธรส ภาผล และ อนุชา ภาผล. (2566). การศึกษาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ UNPLUGGED CODING ของ ครูปฐมวัยที่เสริมสร้างทักษะ EF สำหรับเด็กปฐมวัย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 18(1), 63-77. (TCI 2)
            [4] คันธรส ภาผล และ ฝายวารี ประภาสะวัต. (2565). การศึกษาการจัดกิจกรรมของครูปฐมวัยที่ส่งเสริมทักษะสมองสำหรับ เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดปทุมธานี. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 12(2), 1-13. (TCI 2)
            [5] ณัฐพร ศิริเรือง และ คันธรส ภาผล. (2564). ผลการจัดประสบการณ์การละเล่นพื้นบ้านไทยเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมทาง สังคมสำหรับเด็กปฐมวัย. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(1), 1-11. (TCI 2) [7] คันธรส ภาผล และ ฝายวารี ประภาสะวัต. (2565). การศึกษาการจัดกิจกรรมของครูปฐมวัยที่ส่งเสริมทั
            [6] คันธรส ภาผล. (2563). การวิเคราะห์การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยตามวิถีชีวิตไทยของผู้ปกครอง : กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาค กลาง. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 14(3), 27-40. (TCI 1)
            [7] คันธรส ภาผล. (2563). ผลการจัดกิจกรรมนิทานหุ่นเงาที่ส่งผลต่อส่งเสริมการคิดเชิงบริหารสมองสำหรับเด็กปฐมวัย. วารสารครุศาสตร์สาร, 14(1), 195-210. (TCI 2)
            [8] คันธรส ภาผล และ กุลชาติ พันธุวรกุล. (2562). การวิเคราะห์สมรรถนะของนักศึกษาครูตามกรอบมาตรฐานความรู้ วิชาชีพครู. วารสารครุศาสตร์สาร, 13(1), 195-210. (TCI 1)
            [9] คันธรส ภาผล. (2562). การจัดกิจกรรมการเล่านิทานโดยใช้หนังสือนิทานเล่มใหญ่เพื่อส่งเสริมทักษะการพูดสำหรับเด็ก ปฐมวัยในศตวรรษที่ 21. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 13(2), 12-24. (TCI 1)
            [10] คันธรส ภาผล. (2560). การผลิตหุ่นเชิดโดยใช้วัสดุพื้นถิ่นมาประกอบการเล่านิทานอาเซียนในชุมชนบึงบอน. วารสาร บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 12(2), 12-24. (TCI 1)
    4) รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ (PROCEEDING)
            [1] อรวรรณ ทองพา และ คันธรส ภาผล. (2561). ผลการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยวัสดุเหลือใช้ที่มีผลต่อทักษะพื้นฐาน เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเด็กปฐมวัย ปี 2561. น้อมนำศาสตร์พระราชา สู่การวิจัยและพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน .การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 10. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. (ระดับชาติ)
            [2] วิลินดา พงศ์ธราธิก และ คันธรส ภาผล. (2561). การพัฒนาชุดกิจกรรมการผลิตสื่อการสอนผ่านกิจกรรมสะเต็มศึกษาเพื่อ ส่งเสริมการคิดสำหรับครูปฐมวัย. นวัตกรรมการจัดการ : การขับเคลื่อนธุรกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจดิจิทัล. การประชุมวิชาการ ระดับชาติ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2561. (น. 821-829). มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (ระดับชาติ)
            [3] สุรีฉาย แจะไธสง และ คันธรส ภาผล. (2562). ผลการจัดกิจกรรมตามแนวทางของมอนเตสซอรี่เพื่อส่งเสริมวินัยในตนเอง ของเด็กปฐมวัย. นวัตกรรมการจัดการ “สังคมสีเขียว” เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 ประจำปี 2562. (น. 966-978). มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (ระดับชาติ)
            [4] สุดารัตน์ เฮืองศรี และ คันธรส ภาผล. (2562). ผลการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษาโดยใช้นิทานที่มีผลต่อความสามารถในการ คิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย. นวัตกรรมการจัดการ “สังคมสีเขียว” เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 ประจำปี 2562. (น. 955-965). มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (ระดับชาติ)
            [5] พรนัชชา เขียวสอาด และ คันธรส ภาผล. (2562). ผลการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์จากวัสดุธรรมชาติของเด็กปฐมวัยที่ ส่งผลต่อการคิดเชิงบริหาร. นวัตกรรมการจัดการ “สังคมสีเขียว” เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 ประจำปี 2562. (น. 989-999). มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. (ระดับชาติ)

email
    kh****************th