ข้อมูล

ศรัณยา ฤกษ์ขำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศรัณยา ฤกษ์ขำ
ประวัติการศึกษา
    ปริญญาตรี
        1. วท.บ. (ชีววิทยา) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร

    บัณฑิตศึกษา
      ปริญญาโท
          - วท.ม. (ชีววิทยา) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

รางวัลเชิดชูเกียรติ (AWARDS OF HONOR)
    -
ความเชียวชาญ (FIELDS OF EXPERTISE)
    -
ผลงานทางวิชาการ (ACADEMIC PUBLICATION)
    1) เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน (TEACHING PUBLICATION)/ตำรา (textbook)
            [1] ศรัณยา ฤกษ์ขำ, 2563. เอกสารประกอบการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ท้องถิ่น. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลย อลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์
    2) รายงานการวิจัย (RESEARCH REPORT)
            [1] ศุภากร ปทุมรัตนาธาร, สุรศักดิ์ ยิ้มประเสริฐ, ภูวดล สุวรรณะ, อนุพงษ์ นวลแพง, ชนิตา มาละวรรณโณ ชาญชัย เชืองเต็ม และ ศรัณยา ฤกษ์ขำ. (2558). นิเวศวิทยา ประชากรและการแพร่กระจายของเสือปลาในพื้นที่ธรรมชาติ จังหวัดสงขลา (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพ: องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.
            [2] ภูวดล สุวรรณะ, สุรศักดิ์ ยิ้มประเสริฐ, เบญจรงค์ สังขรักษ์,อนุพงษ์ นวลแพง, ชนิตา มาละวรรณโณ,ชาญชัย เชืองเต็ม และ ศรัณยา ฤกษ์ขำ. (2558). สถานภาพด้านสุขภาพของเสือปลาในพื้นที่ธรรมชาติ และในสภาพเพาะเลี้ยง (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพ: องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.
            [3] สุรศักดิ์ ยิ้มประเสริฐ, ภูวดล สุวรรณะ, อนุพงษ์ นวลแพง, ชนิตา มาละวรรณโณ, ชาญชัย เชืองเต็ม และศรัณยา ฤกษ์ขำ. (2559). นิเวศวิทยา ประชากรและการแพร่กระจายของแย้สงขลาในพื้นที่ธรรมชาติเพื่อเป็นต้นแบบในการอนุรักษ์ (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพ: องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.
            [4] ศรัณยา ฤกษ์ขำ. (2561). อิทธิพลของความพึงพอใจในงานต่อความผูกพันในวิชาชีพครู : กรณีศึกษาครูในระบบการศึกษาภาคบังคับ วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ในพระบรม ราชูปถัมภ์, 12(2), 208-217.
            [5] สุรศักดิ์ ยิ้มประเสริฐ, พัชร ดนัยสวัสดิ์, ฉัตรพรรษ พงษ์เจริญ, ศรัณยา ฤกษ์ขำ และ นุชจรินทร์ เพรช เกลี้ยง. (2562). โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ. สธ.) สำรวจและศึกษาความหลากหลายของสัตว์ 4 กลุ่ม ภายในสวนสัตว์สงขลา (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพ: องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.
            [6] สุรศักดิ์ ยิ้มประเสริฐ, ศรัณยา ฤกษ์ขำ, อสมาภรณ์ วามน, สรวัฒน์ ทองสงวน, สฤษฏิ์วิชญ์ ปัญญาบริบาลบ์ และ สุวรรณา ดือราแมหะยี. (2563). การศึกษาค่าทางโลหิตวิทยาและสุขภาพของเต่าหกเหลือง (Manouria emys emys) ในสภาพการเพาะเลี้ยง. (รายงานผลการวิจัย).กรุงเทพ: องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.
            [7] สุรศักดิ์ ยิ้มประเสริฐ, อนิสรา หลังโส๊ะ, ศรัณยา ฤกษ์ขำ, อนุพงษ์ นวลแพง, นงลักษณ์ ขจรวัฒนากุล และสุวรรณา ดือราแมหะยี. (2564). ชีววิทยา พฤติกรรมการผสมพันธุ์ และการวางไข่ของเต่าหกเหลือง (Manouria emys emys) ในสภาพการเพาะเลี้ยง (รายงานผลการวิจัย).กรุงเทพ: องค์การสวนสัตว์แห่ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.
    3) บทความวิจัย (RESEARCH ARTICLE) / บทความวิชาการ (ACADEMIC ARTICLE)
            [1] Danaisawadi, P., Piriyarom, S., Krasaeden, W., Pramkasem, S., Rurkkhum S. and Yimprasert S. (2023). Time Budget and Activity Patterns During the Mating Period of Flat-headed Cat Prionailurus planiceps in Captivity. Tropical Natural History, Supplement, 7 : 221–228.
            [2] ศรัณยา ฤกษ์ขำ. (๒๕๖๕). การประยุกต์ใช้แนวคิดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน ในรายวิชาวิวัฒนาการ สำหรับครู เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ : กรณีศึกษา นักศึกษาสาขาชีววิทยาและ วิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสาร มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, ๒๔(๒). ๘๕ - ๑๐๐.
            [3] Rurkkhum, S. (2022). An application of importance-performance analysis to students’ evaluations of learning domains. The International Journal of Learning in Higher Education, 30(1), 31-42. https://doi.org/10.18848/2327-7955/CGP/v30i01/31-42.
            [4] ศรัณยา ฤกษ์ขำ. (๒๕๖๕). ความพร้อมของนักศึกษาต่อการเรียนออนไลน์ : กรณีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา, ๑๖(๑) : ๕๑-๖๓.
            [5] ศรัณยา ฤกษ์ขำ. (2561). อิทธิพลของความพึงพอใจในงานต่อความผูกพันในวิชาชีพครู : กรณีศึกษาครูในระบบ การศึกษาภาคบังคับ วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 12(2), 208-217.
            [6] ศรัณยา ฤกษ์ขำ. (2553). ชีววิทยาบางประการของอ้นเล็ก (Cannomys badius) ในพื้นที่ป่าเต็งรังบ้านหนองแว ตำบลอุดมทรัพย์ อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต).กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
            [7] ศรัณยา ฤกษ์ขำ, วีรยุทธ์ เลาหะจินดา. (2551). นิเวศวิทยาของโพรงพักอาศัยและนิสัยการกินอาหารของอ้นเล็ก (Cannomys badius). สัตว์ป่าเมืองไทย.15 (1) : 89-98.
            [8] Rurgkhum S, Sasanakul W, Chotsuppakarn S, Pintadit P, Chuansumrit A. (2002). The limitation of factor IX:C determination in the diagnosis of haemophilia B carrier. J Med Assoc Thai,( 8) Suppl 4:S 1071-4.
            [9] Sasanakul W, Chuansumrit A, Rurgkhum S, Hathirat P. (2000). Frequencies of five polymorphisms associated with the factor IX gene in the Thai population. Haemophilia; 6 : 715 – 6.
            [10] Sasanakul W, Chuansumrit A, Rurgkhum S, Udomsubpakul U, Hathirat P. (1999). DNA Extraction and Amplification of 10 - days, room temperature blood samples. J Med Assoc Thai,(82)Suppl 1 :S 186-9.
    4) รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ (PROCEEDING)
    ยังไม่มีข้อมูลแสดง

email
    ยังไม่มีข้อมูลแสดง